บันทึกอนุทิน
มาตรฐาน
คือ เกณฑ์ขั้นต่ำสำหรับใช้เทียบกำหนดปริมาณและคุณภาพ
กรอบมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัย
เด็กปฐมวัยเรียนรู้อะไรในคณิตศาสตร์
การเรียนรูคณิตศาสตร์ระดับปฐมวัย มุงหวังใหเด็กทุกคนไดเตรียมความพรอม ดานตาง ๆทางคณิตศาสตรอันเปนพื้นฐานการเรียนรูคณิตศาสตรในชั้นประถมศึกษา โดยกําหนดสาระหลักที่จําเป็นสำหรับเด็ก
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ประกอบด้วย 6 สาระ
สาระที่ 1: จำนวนและการดำเนินการ จำนวน การดำเนินการของจำนวน การรวมและการแยกกลุ่ม
สาระที่ 2: การวัด ความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เงิน และเวลา
สาระที่ 3: เรขาคณิต ตําแหนง ทิศทางระยะทาง รูปเรขาคณิตสามมิติและรูปเรขาคณิต สองมิติ
สาระที่ 4: พีชคณิต แบบรูปและความสัมพันธ
สาระที่ 5: การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น การเก็บรวบรวมขอมูลและการนําเสนอ
สาระที่ 6: ทักษะและกระบวนการางคณิตศาสตร์ การแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตรและการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรู ตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ และมีความคิดริเริ่ม สรางสรรค
คุณภาพของเด็กเมื่อจบการศึกษาปฐมวัย
มีความคิดพื้นฐานทางคณิตศาสตร (Mathematical Thinking)
- มีความรู
ความเขาใจและความรูสึกเชิงจำนวนเกี่ยวกับจํานวนนับ 1 - 20
- เขาใจหลักการ
การนับ
- รูจักตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทย
- รูคาของจํานวน เปรียบเทียบจํานวน
เรียงลําดับจํานวน
- เขาใจเกี่ยวกับการรวมและการแยกกลุม
มีความรูความเขาใจพื้นฐานกี่ยวกับความยาว น้ำหนัก ปริมาตรเงิน และ
เวลา
- เปรียบเทียบ เรียงลําดับ และวัดความยาว น้ำหนัก ปริมาตร โดยใชเครื่องมือและหนวยที่ไมใชหนวยมาตรฐาน
- รูจักเงินเหรียญและธนบัตร
- เขาใจเกี่ยวกับ เวลาและคําที่ใชบอกชวงเวลา
มีความรูความเขาใจพื้นฐานทางเรขาคณิต
- ตําแหนง
ทิศทาง และระยะทาง
- จําแนกรูปเรขาคณิตสามมิติและรูปเรขาคณิตสองมิติ
มีความรูความเขาใจแบบรูปและความสัมพันธ
สามารถรวมใหและนําเสนอขอมูลในรูปแผนภูมิอยางงาย
มีทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปน
- ความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล
- การสื่อสารการสื่อความหมายทางคณิตศาสตรและการนําเสนอ
- การเชื่อมโยงความรูตาง ๆทางคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ
การนำเสนอบทความหน้าชั้นเรียนของเพื่อน เลขที่ 10 - 12
เลขที่ 11 นำเสนอบทความเรื่อง การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยสรุป คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยเริ่มตั้งแต่อยู่ในช่วงทารก การเล่น การสนทนา ร้องเพลง การค้นคว้าสิ่งต่างๆรอบตัวจะเป็นพื้นฐานสำคัญให้เด็กรู้จักโครงสร้างทางคณิตศาสตร์
เพลง จัดแถว
สองมือเราชูตรง แล้วเอาลงมาเสมอกับบ่า
ต่อไปย้ายมาข้างหน้า แล้วเอาลงมาอยู่นท่ายืนตรง
เพลง ซ้าย - ขวา
ยืนให้ตัวตรง ก้มหัวลงตบมือแผละ
แขนซ้ายอยู่ไหน หันตัวไปทางนั้นแหละ
ตัวอย่าง ตัวเลขฮินดูอารบิก
นำไปใช้สอนในชั้นเรียน การบูรณาการคณิตศาสตร์กับศิลปะให้เด็กเกิดจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ ส่งผลให้เด็กเรียนรู้ตัวเลขได้ง่ายขึ้น
อาจารย์ใช้สื่อ power point ในการบรรยาย และบอกให้ผู้เรียนทราบถึงเนื่อหาที่จะเรียนก่อน
การประยุกช์ใช้
ผู้สอน
1. จัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
2. ส่งเสริมกิจกรรมให้หลากหลาย และบูรณาการ
3. ประเมินเด็กอย่างต่อเนื่อง เป็นระยะ
ประเมิน
สภาพห้องเรียน
เทคโนโลยีภายในห้องเรียนพร้อมต่อการใช้งาน แอร์เย็นเกินไปทำให้ไม่มีสมาธิเวลาเรียน
ตนเอง
เข้าชั้นเรียนตรงเวลา มีการจดบันทึก สรุปความจากอาจารย์บรรยาย พูดคุยคณะอาจารย์กำลังสอน และไม่มีความมั่นใจในการตอบคำถาม
เพื่อน
เข้าชั้นเรียนตรงเวลา มีความสนใจและตั้งใจเรียน ตอบคำถแสดงความคิดเห็น และตอบคำถามอาจารย์
อาจารย์
อาจารย์ให้ความเป็นกันเอง บริหารเวลาในการสอนได้เหมาะสม การแต่งกายสะอาดสะอ้าน และเป็นระเบียบเรียบร้อย พูดเสียงดังชัดถ้อยชัดคำ เข้าสอนตรงเวลา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น