บันทึกอนุทิน
นำคุณสมบัติของสัตว์มาเสริมประสบการณ์
เช่น เสือ 2 ตัว ไก่ 2 ตัว นับขารวมกันได้เท่าไร ?
ม้าลาย 2 ตัว นก 3 ตัว กบ 1 ตัว เป็ด 2 ตัว นับขารวมกันได้เท่าไร ?
- ขั้นตอนการออกแบบกิจกรรม
1. ศึกษาสาระที่ควรรู้ ตามหลักสูตร
หลักการการเลือกชื่อเรื่อง เลือกเรื่องที่ใกล้ตัวเด็ก และเรื่องที่มีผลกระทบต่อตัวเด็ก
2. วิเคราะห์เนื้อหา
3. ศึกษาประการณ์สำคัญ (สิ่งที่เด็กได้กระทำ)
4. บูรณาการสาระคณิตศาสตร์
5. ออกแบบกิจกรรม
- ประสบการณ์สำคัญ = การลงมือปฏิบัติ หรือกระทำ
ทักษะ
แบ่งกลุ่ม เลือกเรื่องและทำแผนที่ความคิดนำไปสู่การเขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์
เรื่อง ไก่
แผนที่ความคิด เรื่องไก่ |
แผนการสอน เรื่องไก่ |
(เก็บตก) การรายงานวิจัยและโทรทัศน์ครูหน้าชั้นเรียนของเพื่อนเลขที่ 4 - 6 และ25
เลขที่ 4 วิจัยเรื่อง ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับประสบการณ์ตามแนวของมอนเตสเซอรี่
สรุป การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์ตามแนวมอนเตสซอรี่เป็นการจัดประสบการณ์ที่ยึดเด็กเป็นศูนย์กลาง และยังคำนึงถึงศักยภาพของเด็กเป็นรายบุคคล ซึ่งเป็นไปตามแนวคิดของมอนเตสซอรี่ที่ว่า “ไม่เน้นการให้
ความรู้ด้านสมองมากกว่าการใช้มือในการลงมือปฏิบัติจริง” การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์ตามแนวมอนเตสซอรี่จึงเป็นการเปิดโอกาสให้เด็กเรียนรู้คณิตศาสตร์ผ่านประสาทสัมผัสเพื่อนำไปสู่ความรู้ที่เป็นนามธรรม
เลขที่ 5 วิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบความพร้อมทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่จัดประสบการณ์โดยใช้เกมการศึกษาและเพลง กับการจัดประสบการณ์ตามคู่มือครู
สรุป การจัดประสบการณ์มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความพร้อมทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย และเพื่อศึกษาความคิดเห็นของเด็กปฐมวัยต่อการจัดประสบการณ์ ที่จัดประสบการณ์โดยใช้เกมการศึกษาและเพลง กับ การจัดประสบการณ์ตามคู่มือครู
การจัดประสบการณ์โดยใช้เกมการศึกษาและเพลง มีหลักการจัด ดังนี้
ขั้นนำ ใช้เพลงที่สอดคล้องกับคณิตศาสตร์
ข้นสอน ใช้เกมที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์
ขั้นสรุป ใช้เพลงสรุปเนื้อหา
ขั้นวัดประเมินผล
การจัดประสบการณ์ตามคู่มือครู มีหลักการจัด ดังนี้
ขั้นนำ แนะนำการเล่นเกมการศึกษา
ข้นสอน ใช้เกมตามคู่มือครู
ขั้นสรุป สรุปความรู้จากเกมตามคู่มือครู
ขั้นวัดประเมินผล
ผลการวิจัย ความพร้อมทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยกลุ่มทดลองที่จัดประสบการณ์โดยใช้เกมการศึกษาและเพลงสูงกว่ากลุ่มควบคุมที่จัดประสบการณ์ตามคู่มือครู และความคิดเห็นที่มีต่อการจัดประสบการณ์ กลุ่มทดลองที่จัดประสบการณ์โดยใช้เกมการศึกษาและเพลงโดยภาพรวมมีระดับความพึงพอใจมากในทุกด้าน โดยด้านบรรยากาศเด็กปฐมวัยมีความพอใจมากสูงเท่ากันทั้งสองกลุ่ม
เลขที่ 6 วิจัยเรื่อง ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคดวยขนมอบ
สรุป ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
1. การสังเกตและการจำแนก
2. การเปรียบเทียบ
3. การจัดหมวดหมู่
การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ มีขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม 3 ขั้นตอน ดังนี้
1. ขั้นนำ เป็นการนำเขาสูกิจกรรมด้วยการสนทนา การตั้งคำถามปริศนาคำทาย การรองเพลง ทองคําคลองจอง หรือแนะนําอุปกรณในการทํากิจกรรม อยางใดอยางหนึ่ง เพื่อกระตุนใหผูเรียนเกิด ความสนใจในกิจกรรม
2. ขั้นดําเนนกิจกรรม เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรม โดยการใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้าในการทํากิจกรรม โดยการทา การโรย การวาด การเขียน ตามความคิดและจินตนาการของตนเอง โดยครูมีหนาที่ในการแนะนํา และกระตุนใหเด็กไดสังเกตและจําแนก เปรียบเทียบ จัดหมวดหมูวัตถุดิบ และ อุปกรณที่นํามาใชทํากิจกรรม และเมื่อทําเสร็จแลวเด็กชวยกันเก็บอุปกรณและทําความสะอาด
3. ขั้นสรุป เด็กเลาถึงชิ้นงานของตนเอง เด็กและครูรวมกันสรุปถึงกิจกรรมในวันนี้
เลขที่ 5 วิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบความพร้อมทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่จัดประสบการณ์โดยใช้เกมการศึกษาและเพลง กับการจัดประสบการณ์ตามคู่มือครู
สรุป การจัดประสบการณ์มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความพร้อมทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย และเพื่อศึกษาความคิดเห็นของเด็กปฐมวัยต่อการจัดประสบการณ์ ที่จัดประสบการณ์โดยใช้เกมการศึกษาและเพลง กับ การจัดประสบการณ์ตามคู่มือครู
การจัดประสบการณ์โดยใช้เกมการศึกษาและเพลง มีหลักการจัด ดังนี้
ขั้นนำ ใช้เพลงที่สอดคล้องกับคณิตศาสตร์
ข้นสอน ใช้เกมที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์
ขั้นสรุป ใช้เพลงสรุปเนื้อหา
ขั้นวัดประเมินผล
การจัดประสบการณ์ตามคู่มือครู มีหลักการจัด ดังนี้
ขั้นนำ แนะนำการเล่นเกมการศึกษา
ข้นสอน ใช้เกมตามคู่มือครู
ขั้นสรุป สรุปความรู้จากเกมตามคู่มือครู
ขั้นวัดประเมินผล
ผลการวิจัย ความพร้อมทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยกลุ่มทดลองที่จัดประสบการณ์โดยใช้เกมการศึกษาและเพลงสูงกว่ากลุ่มควบคุมที่จัดประสบการณ์ตามคู่มือครู และความคิดเห็นที่มีต่อการจัดประสบการณ์ กลุ่มทดลองที่จัดประสบการณ์โดยใช้เกมการศึกษาและเพลงโดยภาพรวมมีระดับความพึงพอใจมากในทุกด้าน โดยด้านบรรยากาศเด็กปฐมวัยมีความพอใจมากสูงเท่ากันทั้งสองกลุ่ม
เลขที่ 6 วิจัยเรื่อง ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคดวยขนมอบ
สรุป ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
1. การสังเกตและการจำแนก
2. การเปรียบเทียบ
3. การจัดหมวดหมู่
การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ มีขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม 3 ขั้นตอน ดังนี้
1. ขั้นนำ เป็นการนำเขาสูกิจกรรมด้วยการสนทนา การตั้งคำถามปริศนาคำทาย การรองเพลง ทองคําคลองจอง หรือแนะนําอุปกรณในการทํากิจกรรม อยางใดอยางหนึ่ง เพื่อกระตุนใหผูเรียนเกิด ความสนใจในกิจกรรม
2. ขั้นดําเนนกิจกรรม เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรม โดยการใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้าในการทํากิจกรรม โดยการทา การโรย การวาด การเขียน ตามความคิดและจินตนาการของตนเอง โดยครูมีหนาที่ในการแนะนํา และกระตุนใหเด็กไดสังเกตและจําแนก เปรียบเทียบ จัดหมวดหมูวัตถุดิบ และ อุปกรณที่นํามาใชทํากิจกรรม และเมื่อทําเสร็จแลวเด็กชวยกันเก็บอุปกรณและทําความสะอาด
3. ขั้นสรุป เด็กเลาถึงชิ้นงานของตนเอง เด็กและครูรวมกันสรุปถึงกิจกรรมในวันนี้
เลขที่ 25 โทรทัศน์ครูเรื่อง การสอนคณิตศาสตร์กับเด็กๆอนุบาล 1 - 3
สรุป สอนคณิตศาสตร์เด็กปฐมวัย ผ่านการเล่น ให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติจากสื่อที่น่าสนใจ และเปิดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
วิธีการสอน
อาจารย์มีการใช้คำถามทบทวนความรู้ที่ได้เรียนมา คือ สติปัญญานอกจากด้านการคิดแล้วเป็นด้านใด มีการให้ข้อเสนอแนะ อธิบายเพิ่มเติมจากการนำเสนอของนักศึกษา และใช้สื่อ power point ในการบรรยาย
สภาพห้องเรียน
เทคโนโลยีภายในห้องเรียนพร้อมต่อการใช้งาน เก้าอี้เพียงพอต่อจำนวนนักศึกษา อากาศภายในห้องถ่ายเท
ตนเอง
เข้าชั้นเรียนตรเวลา ตั้งใจเรียน แสดงความคิดเห็น และจดบันทึก สรุปเนื้อหาที่อาจารย์สอน
เพื่อน
เข้าชั้นเรียนตรงเวลา แสดงความคิดเห็น และให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
อาจารย์
อาจารย์ให้ความเป็นกันเอง บริหารเวลาในการสอนได้เหมาะสม การแต่งกายสะอาดสะอ้าน และเป็นระเบียบเรียบร้อย พูดเสียงดังชัดถ้อยชัดคำ เข้าสอนตรงเวลา และเปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม แสดงความคิดเห็น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น